เวิร์คช็อป
เวทีพี่เลี้ยง Online PLC Coaching ครั้งที่ 2
เวทีพี่เลี้ยง Online PLC Coaching ครั้งที่ 2ภายใต้โครงการขับเคลื่อนชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพครูสู่การพัฒนาโรงเรียนแกนนํา (Online PLC Coaching) (ถอดบทเรียน)โดย มูลนิธิสยามกัมมาจลสนับสนุนโดย กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) รอบที่ 1 วันอาทิตย์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 เวลา 09.00 –16.30 น.
ภายใต้โครงการขับเคลื่อนชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพครูสู่การพัฒนาโรงเรียนแกนนํา (Online PLC Coaching) (ถอดบทเรียน) โดย มูลนิธิสยามกัมมาจลสนับสนุนโดย กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
รอบที่ 1 วันอาทิตย์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 เวลา 09.00 – 16.30 น.
วัตถุประสงค์
1) เพื่อให้โรงเรียนแกนนำ 24 เครือข่าย ได้ถอดบทเรียนประสบกำรณ์การจัดทำเวที Online PLC Coaching และนำสู่การขยาย ผลต่อภายในโรงเรียนแกนนำและในโรงเรียนเครือข่าย
2) เพี่อให้โรงเรียนแกนนำ 24 เครือข่าย ได้สะท้อนผลข้อค้นพบของครูต้นเรื่องจากการเข้าร่วมเวที Online PLC Coaching ใน การนำแนวทางไปปรับใช้พัฒนางานของตนเอง และขยายผลกับเพื่อนครู
3) เพื่อให้โรงเรียนแกนนำ 24 เครือข่าย ได้นำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน กับทีมโค้ช ผู้ทรงคุณวุฒิ และมูลนิธิสยามกัมมาจล
ผู้ทรงคุณวุฒิร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
1.ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช ประธานคณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนทั้งระบบ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
2.ดร.อุดม วงษ์สิงห์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาคุณภาพครูและสถานศึกษา กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
3.คุณปิยาภรณ์ มัณฑะจิตร ผู้จัดการมูลนิธิสยามกัมมาจล
โจทย์การแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทบาทและภารกิจในการเป็นโรงเรียนแกนนำ
1.โจทย์ที่ 1 (90 นาที)“ท่านได้อะไรจากการจัดเวที Online PLC Coaching ที่มีคุณภาพ แล้วสามารถนำไปปรับใช้ในงาน ตามบทบาทของท่านเองได้”
2.โจทย์ที่ 2 “วง PLC ที่มีคุณภาพเป็นอย่างไร
3.กระบวนการ PLC ที่ดีควรมี How to อย่างไร ใครที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการนี้บ้าง
09.00 – 09.30 น. ช่วงที่ 1 : เปิดเวที โดย กล่าวเสริมพลัง ให้กับโรงเรียนแกนนำ กล่าววัตถุประสงค์ แนะนำผู้ทรง
09.30 – 11.30 น. ช่วงที่ 2 : ช่วงแลกเปลี่ยนเรียนรู้: โจทย์ที่ 1 (90 นาที)“ท่านได้อะไรจากการจัดเวที Online PLC Coaching ที่มีคุณภาพ แล้วสามารถนำไปปรับใช้ในงาน ตามบทบาทของท่านเองได้” แบ่งกลุ่มย่อย
ห้องย่อยกลุ่มฝ่ายวิชาการ (ห้อง 2) โจทย์ที่ 1 “ท่านได้อะไรจากการจัดเวที Online PLC Coaching ที่มีคุณภาพ แล้วสามารถนำไปปรับใช้ในงานตามบทบาทของท่านเองได้”
ห้องย่อยกลุ่มครูต้นเรื่อง ด้านภาษา (ห้อง3) โจทย์ที่ 1 “ท่านได้อะไรจากการจัดเวที Online PLC Coaching ที่มีคุณภาพ แล้วสามารถนำไปปรับใช้ในงานตามบทบาทของท่านเองได้”
ห้องย่อยกลุ่มครูต้นเรื่อง ด้านพัฒนาการ ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (ห้อง4) โจทย์ที่ 1 “ท่านได้อะไรจากการจัดเวที Online PLC Coaching ที่มีคุณภาพ แล้วสามารถนำไปปรับใช้ในงานตามบทบาทของท่านเองได้”
11.30-12.30 ตัวแทนกลุ่มนำเสนอการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากโจทย์ ที่ 1 “ท่านได้อะไรจากการจัดเวที Online PLC Coaching ที่มีคุณภาพ แล้วสามารถนำไปปรับใช้ในงานตามบทบาทของท่านเองได้” กลุ่มละ 3-5 นาที (45 นาที) เวทีพี่เลี้ยง Online PLC Coaching คร้ังท่ี 2
13.00-13.45 ให้โจทย์ที่ 2 ท่านมองว่า “วง PLC ที่มีคุณภาพเป็นอย่างไร แบ่งกลุ่มย่อย
ห้องย่อย 1 มูลนิธิเพื่อทักษะแห่งอนาคต มหาวิทยราชภัฎภูเก็ต โจทย์ที่ 2
ห้องย่อย 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจ ำนวน 3 โรงเรียน โจทย์ที่ 2
ห้องย่อย 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร โจทย์ที่ 2โจทย์ที่ 2“วง PLC ที่มีคุณภาพเป็นอย่างไร
ห้องย่อย 4 มหาวิทยาลัยนเรศวร จ ำนวน 2 โรงเรียน โจทย์ที่ 2
ห้องย่อยที่ 5 สพป.สุรินทร์ เขต 2 โรงเรียน มูลนิธิสตาร์ฟิชคันทรีโฮม โจทย์ที่ 2
13.45-14.30 น. นำเสนอผลการแลกเปลี่ยนโจทย์ที่ 2“วง PLC ที่มีคุณภาพเป็นอย่างไร
14.30-15.15 น. ให้โจทย์ที่ 3 กระบวนการ PLC ที่ดีควรมี How to อย่างไร ใครที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการนี้บ้าง PLC ครั้งที่2
ห้องย่อย 1 มูลนิธิเพื่อทักษะแห่งอนาคต มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต โจทย์ที่ 3
ห้องย่อย 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจ ำนวน 3 โรงเรียน โจทย์ที่ 3
ห้องย่อย 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร โจทย์ที่ 2โจทย์ที่ 2“วง PLC ที่มีคุณภาพเป็นอย่างไร โจทย์ที่ 3
ห้องย่อย 4 มหาวิทยาลัยนเรศวร จ ำนวน 2 โรงเรียน โจทย์ที่ 3
ห้องย่อยที่ 5 สพป.สุรินทร์ เขต 2 โรงเรียน มูลนิธิสตาร์ฟิชคันทรีโฮม โจทย์ที่ 3
15.15-16.00 น. นำเสนอผลการแลกเปลี่ยนโจทย์ที่ 3 กระบวนการ PLC ที่ดีควรมี How to อย่างไร ใครที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการนี้บ้าง
16.00-17.00 น. Q&A และ What’s Next